พัฒนาระบบติดตามตัวชี้วัด และ ระบบสอบทานการจัดเก็บรายได้ของโรงพยาบาล
สภาพปัญหา
ผลลัพธ์/ผลกระทบ (outcome/Impact) เจ้าหน้าที่ติดตามตัวชี้วัดได้ยาก , เจ้าหน้าที่ไม่สามารถสอบทานระบบจัดเก็บรายได้ของโรงพยาบาล
SIS : .....................................................................................................................................
ปัญหาสิ่งส่งมอบที่พบ
SPS : .....................................................................................................................................
ปัญหาการจัดการที่พบ
1. ตัวชี้วัดของโรงพยาบาลถูกเก็บไว้ไนไฟล์ Excel จึงทำให้การเข้าถึงเพื่อติดตามผลเป็นไปได้ยาก
2. การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลด้วยโปรแกรม Access สามารถรายงานผลได้เพียงว่านำข้อมูลเข้าโปรแกรมรอส่งครบถ้วนแล้ว แต่ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าข้อมูลได้ถูกส่งออกไปในระบบ E-Claim-สปสช. ครบถ้วนหรือไม่ ระบบมีความยุ่งยากซับซ้อน และต้องใช้เวลาในการทำงานนานในขณะที่มีข้อจำกับเรื่องของจำนวนบุคลากร
เป้าหมายร่วมที่ทุกคนยอมรับ
1. สามารถตรวจสอบตัวชี้วัดของโรงพยาบาลได้ทันทีจากเว็บแอพพลิเคชั่น
2. สามารถตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วยในที่จำหน่ายรายวันได้ทันทีจากเว็บแอพพลิเคชั่น
3. สามารถตรวจสอบข้อมูลรายงานผลตอบกลับ Statement ได้จากเว็บแอพพลิเคชั่น
4. สามารถตรวจสอบข้อมูลต้นทุนบริการผู้ป่วยในที่ส่งจัดเก็บรายบุคคลได้จากเว็บแอพพลิเคชั่น
กระบวนการและสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการแก้ไขปัญหา
ปัญหา/สาเหตุ |
มาตรการ (วิธีการดำเนินงาน) |
จุดควบคุม |
ผู้รับผิดชอบ |
|||
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
ระดับปัจจุบัน |
วันที่สำเร็จ |
|||
พัฒนาคุณภาพการติดตามตรวจสอบตัวชี้วัด |
1. ประชุมอนุกรรมการ IM เพื่อสรุปตัวชี้วัดของโรงพยาบาลที่ต้องติดตามจากไฟล์ excel เพื่อที่จะนำไปพัฒนาเป็นเว็บแอพพลิเคชั่น |
1.ตัวชี้วัดของโรงพยาบาลทั้งหมด 30 รายการ |
พงศ์วิทย์ |
|||
2.พัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นและทดสอบระบบ |
||||||
3. แจ้งให้ผู้รับผิดชอบทดลองใช้งานเว็บแอพพลิเคชั่น |
||||||
4.ติดตามผลเพื่อพัฒนาต่อยอด |
ปัญหา/สาเหตุ |
มาตรการ (วิธีการดำเนินงาน) |
จุดควบคุม |
ผู้รับผิดชอบ |
|||
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
ระดับปัจจุบัน |
วันที่สำเร็จ |
|||
พัฒนาคุณภาพระบบสอบทานข้อมูลจัดเก็บรายได้ |
1. นำปัญหาที่พบมาคิด วิเคราะห์ ร่วมกับงานเวชระเบียนและงานประกันสุขภาพ เพื่อหาวิธีตรวจสอบข้อมูลส่งเรียกเก็บและข้อมูลที่ตอบกลับ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง |
พงศ์วิทย์ |
||||
2.ออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ทำการทดสอบตรวจสอบข้อมูลรายRecordแบบManualจนไม่พบความผิดพลาด |
||||||
3.กำหนดสิทธิการเข้าถึง และการใช้งานข้อมูลและ ทำการ วางบน Website เพื่อให้สามารถใช้งานง่าย และสะดวกต่อการเข้าถึง |
||||||
4.เผยแพร่ให้ผู้รับผิดชอบรายสิทธิ และผู้บริหาร ได้ตรวจสอบข้อมูล และนำข้อแนะนำที่ได้รับมาพัฒนาต่อยอด |
ผลลัพธ์เปรียบเทียบก่อนและหลังทดสอบ
จากปัญหาข้างต้นจึงนำไปสู่การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น Bigdata เพื่อติดตามตัวชี้วัดของโรงพยาบาล และตรวจสอบการจัดเก็บรายได้ของโรงพยาบาล
โปรแกรม Big Data ขึ้นเพื่อใช้ในการติดตามตัวชี้วัดและตรวจสอบคุณภาพข้อมูล สามารถรายผลได้ Real time
สามารถติดตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาลได้จากหน้าเว็บทันที
สามารถติดตามสอบทานระบบเรียกเก็บได้ครบถ้วนทุกรายการ
- คุณภาพของข้อมูลจากการตรวจสอบ ข้อมูลจำหน่าย IPD จำนวนRecord ครบถ้วน 100% และตรวจพบว่า มีข้อมูลผู้ป่วย UC IPD ที่จำหน่ายระหว่าง 1 ตุลาคม 2560- 28 กุมภาพันธ์ 2561 จำนวน 2,179 Record ยังไม่มีข้อมูลตอบกลับ(REP) จำนวน 4 ราย จำนวน 2 Record จำหน่ายในช่วงเวรบ่ายของวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 หลังจากเจ้าหน้าที่ส่งข้อมูลE-Claim เสร็จสิ้นแล้ว อีก2 Record ข้อมูลติดC ซึ่งได้ทำการแก้ไขตามระบบได้ทัน Sent Date
มาตรฐานใหม่ในการทำงานหรือบทเรียนจากการทำกิจกรรม
-ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สามารถติดตามตัวชี้วัดของโรงพยาบาลได้ทันทีจากหน้าเว็บแอพพลิเคชั่น
- ผู้บริหารสามารถตรวจสอบข้อมูลรายงานได้สะดวก Real time จากโปรแกรมอัตโนมัติ
- ผู้บริหารสามารถมองเห็นข้อมูลรายได้ กำไร ขาดทุน ลูกหนี้รายตัวจากการชดเชยได้ทันที เมื่อ สปสช.รายงาน Statement